พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ภาคกลาง

อุทยานประวัติศาสตร์พระนครคีรี อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี

หน่วยงานรับผิดชอบ
สำนักโบราณคดี กรมศิลปากร
สาระความรู้
สถานที่ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และอนุสาวรีย์
กิจกรรมที่จัด
-
กลุ่มเป้าหมาย
ประชาชนทั่วไป
รูปแบบการบริหารจัดการ
ราชการ
วันเวลาทำการ
เปิดบริการทุกวัน เวลา 09.00-16.00 น.
ค่าบริการ
เสียค่าบริการ ผู้ใหญ่ 30 บาท เด็ก 10 บาท
สาขา/เครือข่าย
-
การติดต่อ
โทร.0 3242 5600

อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

หน่วยงานรับผิดชอบ
สำนักโบราณคดี กรมศิลปากร
สาระความรู้
สถานที่ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และอนุสาวรีย์
กิจกรรมที่จัด
-
กลุ่มเป้าหมาย
ประชาชนทั่วไป
รูปแบบการบริหารจัดการ
ราชการ
วันเวลาทำการ
เปิดบริการทุกวัน ตั้งแต่เวลา 8.00 – 18.00 น.
ค่าบริการ
ผู้มีสัญชาติไทย 10 บาท ผู้มีสัญชาติอื่น 40 บาท
สาขา/เครือข่าย
-
การติดต่อ
โทร.035 245123-4

อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย

หน่วยงานรับผิดชอบ
สำนักโบราณคดี กรมศิลปากร
สาระความรู้
สถานที่ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และอนุสาวรีย์
กิจกรรมที่จัด
-
กลุ่มเป้าหมาย
ประชาชนทั่วไป
รูปแบบการบริหารจัดการ
ราชการ
วันเวลาทำการ
เปิดบริการทุกวัน ตั้งแต่เวลา 8.00 – 18.00 น.
ค่าบริการ
ผู้มีสัญชาติไทย 10 บาท ผู้มีสัญชาติอื่น 30 บาท
สาขา/เครือข่าย
-
การติดต่อ
โทร.055 679211

อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย อยู่ตรงข้ามพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง อเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย

หน่วยงานรับผิดชอบ
สำนักโบราณคดี กรมศิลปากร
สาระความรู้
สถานที่ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และอนุสาวรีย์
กิจกรรมที่จัด
-
กลุ่มเป้าหมาย
ประชาชนทั่วไป
รูปแบบการบริหารจัดการ
ราชการ
วันเวลาทำการ
เปิดให้ เข้าชมทุกวันตั้งแต่เวลา 06.00-21.00 น. (ปิดจำหน่ายบัตรเวลา 18.00 น.) หมายเหตุ ตั้งแต่เวลาประมาณ 19.00-21.00 น. จะมีการส่องไฟชมโบราณสถาน
ค่าบริการ
นักท่องเที่ยว ชาวไทย 10 บาท ชาวต่างชาติ 40 บาท หรือสามารถซื้อตั๋วรวมได้ ชาวไทย 30 บาท ชาวต่างชาติ 150 บาท โดยบัตรนี้สามารถเข้าชมอุทยานฯ ต่าง ๆ ในจังหวัดสุโขทัยได้ ภายในระยะเวลา 30 วัน
สาขา/เครือข่าย
-
การติดต่อ
โทร.0-5569-7310

อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร

หน่วยงานรับผิดชอบ
สำนักโบราณคดี กรมศิลปากร
สาระความรู้
สถานที่ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และอนุสาวรีย์
กิจกรรมที่จัด
-
กลุ่มเป้าหมาย
ประชาชนทั่วไป
รูปแบบการบริหารจัดการ
ราชการ
วันเวลาทำการ
เปิดบริการทุกวัน ตั้งแต่เวลา 8.00 – 18.00 น.
ค่าบริการ
ผู้มีสัญชาติไทย 10 บาท ผู้มีสัญชาติอื่น 30 บาท
สาขา/เครือข่าย
-
การติดต่อ
โทร.055 711921

อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 2 (บ้านดอนหนองแหน) ตำบลตาเป๊ก อำเภอเฉลิมพระเกียรติ ห่างจากตัวเมืองบุรีรัมย์ลงมาทางทิศใต้ประมาณ 77 กิโลเมตร

หน่วยงานรับผิดชอบ
กรมศิลปากร
สาระความรู้
อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง หรือ ปราสาทหินพนมรุ้ง ประกอบไปด้วยโบราณสถานสำคัญ เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งของจังหวัดบุรีรัมย์ และถือเป็นสัญลักษณ์ที่สำคัญของจังหวัดบุรีรัมย์
กิจกรรมที่จัด
เป็นแหล่งท่องเที่ยว
กลุ่มเป้าหมาย
นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างประเทศ
รูปแบบการบริหารจัดการ
ราชการ
วันเวลาทำการ
เปิดให้เข้าชมทุกวัน เวลา 06.00-18.00น.
ค่าบริการ
ค่าเข้าชมชาวไทย 10 บาท ชาวต่างชาติ 40บาท
สาขา/เครือข่าย
-
การติดต่อ
สอบถามรายละเอียดได้ที่สำนักงานอุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง โทร. 044 631746

อุทยานประวัติศาสตร์พิมาย อ.พิมาย จ.นครราชสีมา

หน่วยงานรับผิดชอบ
กรมศิลปากร
สาระความรู้
เป็นปราสาทหินที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย มีรูปแบบศิลปกรรมขอมแบบบาปวนและนครวัดที่มีความงดงาม เชื่อว่าเป็นต้นแบบในการสร้างนครวัดในเขมรปราสาทหินแห่งนี้ตั้งอยู่กลางเมืองพิมายซึ่งเป็นเมืองโบราณที่สำคัญของภูมิภาค มีเส้นทางคมนาคมเชื่อมโยงกับเมืองสำคัญทางตอนเหนือของลาวและทางตอนใต้ของขอม เมื่อชมปราสาทหินพิมายแล้วควรแวะชมพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพิมาย ซึ่งจัดเก็บโบราณวัตถุที่สำคัญจากปราสาทแห่งนี้ไว้ พิพิธภัณฑ์ตั้งอยู่บริเวณใกล้กัน
กิจกรรมที่จัด
เป็นแหล่งท่องเที่ยว
กลุ่มเป้าหมาย
นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างประเทศ
รูปแบบการบริหารจัดการ
ราชการ
วันเวลาทำการ
เปิดเวลา 08.30-18.00 น.
ค่าบริการ
ชาวไทยคนละ 10 บาท ชาวต่างประเทศคนละ 40 บาท
สาขา/เครือข่าย
-
การติดต่อ
ติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ โทร. (044) 471167

อุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์ ตำบลสิงห์ อำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี

หน่วยงานรับผิดชอบ
กรมศิลปากร
สาระความรู้
ได้มีการขุดค้นพบหลักฐานหลุมฝังศพและเครื่องมือเครื่องใช้ของคนในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ เช่น ภาชนะดินเผา ขวาน ทัพพี กำไลสำริด ลูกปัดหิน ลูกปัดแก้ว มีอายุราว ๒,๐๐๐ ปีมาแล้ว ที่บริเวณริมแม่น้ำแควน้อย นอกกำแพงเมืองสิงห์ด้านทิศใต้
กิจกรรมที่จัด
เป็นแหล่งท่องเที่ยว
กลุ่มเป้าหมาย
นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างประเทศ
รูปแบบการบริหารจัดการ
ราชการ
วันเวลาทำการ
เปิดทุกวัน เวลา 08.00 - 18.00 น.
ค่าบริการ
อัตราค่าเข้าชม ชาวไทย 20 บาท ชาวต่างชาติ 100 บาท
สาขา/เครือข่าย
-
การติดต่อ
โทรศัพท์ 034-670264-5

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท จ.อุดรธานี

หน่วยงานรับผิดชอบ
กรมศิลปากร
สาระความรู้
ปรากฏร่องรอยของกิจกรรมของมนุษย์มาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เมื่อราว 2,000 – 3,000 ปีมาแล้ว มีการพบภาพเขียนสีมากกว่า 30 แห่ง ยังพบการดัดแปลงโขดหินและเพิงผาธรรมชาติให้กลายเป็นศาสนสถานของผู้คนใน วัฒนธรรมทวารวดี ลพบุรี สืบต่อกันมาจนถึงวัฒนธรรมล้านช้าง ตามลำดับ ซึ่งร่องรอยหลักฐานทางโบราณคดีเหล่านี้แสดงให้เห็นถึงพัฒนาการทางสังคมของ มนุษย์ได้เป็นอย่างดี
กิจกรรมที่จัด
เป็นแหล่งท่องเที่ยว
กลุ่มเป้าหมาย
นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างประเทศ
รูปแบบการบริหารจัดการ
ราชการ
วันเวลาทำการ
เปิดบริการเวลา 08.00-16.30 น.
ค่าบริการ
ค่าเข้าชม ชาวไทย 10 บาท ชาวต่างประเทศ 30 บาท
สาขา/เครือข่าย
-
การติดต่อ
โทรศัพท์ 042 910107

อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ อ.ศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์ 67170

หน่วยงานรับผิดชอบ
กรมศิลปากร
สาระความรู้
เป็นโบราณสถานสำคัญแห่งหนึ่งของจังหวัดเพชรบูรณ์ อุทยานมีพื้นที่ครอบคลุมโบราณสถานในเมืองเก่าศรีเทพ ศรีเทพเป็นเมืองโบราณที่อยู่ในท้องที่อำเภอศรีเทพ เดิมมีชื่อว่า "เมืองอภัยสาลี" ได้รับอิทธิพลทางศิลปวัฒนธรรมจากอาณาจักรข้างเคียง มาผสมผสาน เช่น ศิลปะทวารวดี ศิลปะขอม เป็นต้น เมืองศรีเทพสร้างขึ้นในยุคของขอมเรืองอำนาจ ซึ่งคาดว่ามีอายุไม่ต่ำกว่า 1,000 ปี และได้รับรางวัล Thailand Tourism Award ประจำปี 2543 2 รางวัลคือ รางวัลประเภทแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมโบราณสถานยอดเยี่ยมและรางวัลสื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ด้านอินเทอร์เน็ตดีเด่น
กิจกรรมที่จัด
เป็นแหล่งท่องเที่ยว
กลุ่มเป้าหมาย
นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างประเทศ
รูปแบบการบริหารจัดการ
ราชการ
วันเวลาทำการ
เปิดให้เข้าชมทุกวัน เวลา 08.30-17.00 น.
ค่าบริการ
ค่าเข้าชม คนไทย 10 บาท ชาวต่างประเทศ 30 บาท
สาขา/เครือข่าย
-
การติดต่อ
โทร. (056) 799466

อุทยานประวัติศาสตร์กลุ่มปราสาทตาเมือนและปราสาทศีขรภูมิ ตำบลตาเมียง อำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์

หน่วยงานรับผิดชอบ
กรมศิลปากร
สาระความรู้
เป็นปราสาทที่รวมกลุ่มปราสาทตาเมือน ซึ่งประกอบด้วยปราสาทหินสามหลัง เรียงลำดับจากขนาดใหญ่ไปขนาดเล็ก คือ ปราสาทตาเมือนธม ปราสาทตาเมือนโต๊ด และปราสาทตาเมือน มาเป็นอุทยานประวัติศาสตร์กลุ่มปราสาทตาเมือน และกำลังพิจารณาปราสาทกลุ่มราชมรรคาเป็นมรดกโลก
กิจกรรมที่จัด
เป็นแหล่งท่องเที่ยว
กลุ่มเป้าหมาย
นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างประเทศ
รูปแบบการบริหารจัดการ
ราชการ
วันเวลาทำการ
เนื่องจากกลุ่มปราสาทนี้ตั้งอยู่ในเขตชายแดนประเทศไทย และเคยเป็นเขตอันตราย เพื่อความสะดวกและปลอดภัยในการเดินทางเข้าชม ควรติดต่อหน่วยตำรวจตระเวนชายแดนที่ตั้งด่านอยู่ที่หมู่บ้าน
ค่าบริการ
-
สาขา/เครือข่าย
-
การติดต่อ
-